๓ มหาวัจฉโคตตสูตร : พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๓

ผู้นั้นตั้งอยู่ในฌานแต่ละข้อนั้นย่อมถึงความสิ้นอาสวะได้ ถ้าละอาสวะไม่ได้ ก็จะได้เป็นพระอนาคามี. ตรัสสอนพระราหุลในระหว่างที่ท่านตามเสด็จไปบิณฑบาตในเวลาเช้าว่า พึงพิจารณาเห็นรูปทุกชนิด ทั้งอดีต อนาคต ปัจจุบัน, ภายใน ภายนอก, หยาบละเอียด, เลว ดี, ไกล ใกล้ ว่ารูปทั้งหมดนั้น มิใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา. พระราหุลกลับจากที่นั้น นั่งคู้บัลลงก์ ( ขัดสมาธิ ) ณ โคนไม้ตันหนึ่ง ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า พระสารีบุตรเห็นเข้าจึงสอนให้เจริญอานาปาปานสติ ( สติกำหนดลมมหายใจเข้าออก). ในเวลาเย็นพระราหุลออกจากที่เร้น เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามถึงวิธีเจริญอานาปานสติที่จะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก.

ธรรมะจึงเป็นสิ่งประเสริฐสุดในหมู่ชนทั้งในปัจจุบันและอนาคต. ต่อมามีผู้เกียจคร้านที่จะนำข้าวสาลีตอนเช้าเพื่ออาหารเช้า นำมาตอนเย็นเพื่ออาหารเย็น จึงนำมาครั้งเดียวให้พอทั้งเช้าทั้งเย็น. ต่อมาก็นำมาครั้งเดียวให้พอสำหรับ ๒ วัน ๔ วัน ๘ วัน มีการสะสมอาหาร จึงเกิดมีเปลือกห่อห่มข้าวสาร ที่ถอนแล้วก็ไม่งอกขึ้นแทน ปรากฏความพร่อง ( เป็นตอน ๆ ที่ถูกถอนไป ).

ทายาทพระนางมัสสุหรีแต่งงาน

สัจจนิครนถ์พูดในที่ประชุมชนกรุงเวสาลีว่า ไม่เห็นใครแม้ที่จะปฏิญญาตนว่าเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง ที่ตนโต้ตอบด้วยแล้วจะไม่หวั่นไหว ไม่มีเหงื่อไหลออกมาจากรักแร้ อย่าว่าแต่มนุษย์เลย แม้ตนจะโต้ตอบกับต้นเสา ต้นเสาก็ยังหวั่นไหว. ตรัสถามถึงความอยู่เป็นผาสุก ก็กราบทูลว่า ต่างอยู่กันอย่างตั้งเมตตาทางกาย วาจา ใจ ต่อกัน พยายามไม่ทำอะไรตามใจตน แต่รู้จักทำตามใจผู้อื่น แม้จะมีกายต่างกัน แต่มีจิตเสมือนเป็นอันเดียวกัน. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชวตนาราม ทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงเรื่องที่ว่า ถ้าภิกษุยังละกิเลสที่เปรียบเหมือนตอของจิต ( เจโตขีละ ) ๕ ประการ และถอนกิเลสที่เปรียบเหมือนเครื่องผูกมัดจิต ( เจตโสวินิพันธะ ) ๕ ประการไม่ได้ ก็มิใช่ฐานะที่ภิกษุนั้นจะถึงความเจริญงอกงามไพบูลในพระธรรมวินัยนี้. ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายลองนย้อนถามดูว่า อะไรคือความพอใจ ( อัสสาทะ ) , โทษ ( อาทีนวะ ), การพ้นไป ( นิสสรณะ= แล่นออก ) ของกาม , รูป และเวทนา ซึ่งนักบวชลัทธิอื่นจะตอบไม่ได้ และมีความอึดอัดยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะมิใช่ปัญหาในวิสัย . ทรงยืนยันว่า ไม่มีใครตอบปัญหานี้ได้เป็นที่พอใจ เว้นไว้แต่ตถาคต สาวกของตถาคต หรือผู้ฟังจากศาสนานี้.

ถามว่า การเกิดในภพอีกต่อไปจะไม่มีได้อย่างไร ตอบว่า ไม่มีได้เพราะคลายอวิชชา ( ความไม่รู้ ) เพราะเกิดวิชชา ( ความรู้ ) เพราะดับตัญหาเสียได้. จึงเสด็จไปสู่ตำบนอุรุเวลาเสนานิคม ทรงทำความเพียรจนได้ค้นพบพระนิพพาน และเห็นธรรมะนี่ลุ่มลึก จึงคิดจะไม่ทรงแสดงธรรม ต่อท้าวสหัมบดีพรหมมาอาราธนา จึงทรงตกลงพระหฤทัยจะแสดงธรรม. ทรงแสดงถึงผู้ปฏิบัติได้ผลในพระธรรมวินัยที่ตรัสไว้ดีแล้ว ตั้งแต่พระอรหันต์ลงมาถึงชั้นต่ำสุด คือผู้มีความศรัทธา มีความรักในพระองค์. เมื่อไม่ระลึก ไม่ใส่ใจความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ความคิดฝ่ายชั่วยังเกิดขึ้น ก็พึงใส่ใจถึงที่ตั้งแห่งเหตุของความคิด ( วิตักกสังขารสัณฐานะ คือให้ดูอะไรเป็นเหตุให้ความคิดฝ่ายชั่วเกิดขึ้น ) ก็จะละความคิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นสมาธิได้ . เปรียบเหมือนคนเดินเร็ว เดินช้าลง หยุด ยืน นั่ง นอน สละอิริยาบถหยาบ ๆ ลง สำเร็จอิริยาบถละเอียดขึ้น. ทรงแสดงการประพฤติพรหมจรรย์มีองค์ ๔ ของพระองค์ คือ ๑.

” พ่อค้าเกวียนทั้งหลาย ไม่เกียจคร้าน ขุด ( หาน้ำอยู่ ) ในทางทราย ก็ได้พบน้ำในเนินทราย ( ในทะเลทราย ) นั้น. ท่านผู้เป็นมุนีก็เช่นกัน เป็นผู้ประกอบด้วยกำลังคือความเพียร ไม่เกียจคร้าน พึงประสบความสงบแห่งหทัยได้.” ตรัสแสดงว่า ผู้ที่ติดอยู่ในความเห็น หรือสัจจะเฉพาะอย่าง ย่อมโต้เถียงกันว่า ความบริสุทธิ์มีเฉพาะในลัทธิของตน แล้วตรัสแสดงโทษของความติดในทิฏฐิ. มีคำสรุปว่า ในธรรมบทมีคาถา คำฉันท์ ) ๔๒๓ บท ( บางเรื่องและบางหัวข้อ อาจประกอบด้วยคำฉันท์หลายบท เพราะฉะนั้น ที่กล่าวว่าประมาณ ๓๐๐ หัวข้อ จึงหมายเฉพาะเนื้อเรื่อง ). อตุละเอย !

แพศย์, ศูทร ควรบำเรอแพศย์ . ศูทรเท่านั้นควรบำเรอศูทร ( สูงกว่าบำเรอพวกต่ำกว่าไม่ได้) ในข้อนี้พระสมณโคดมตรัสว่าอย่างไร. ตรัสถามว่า ทั่วโลกยอมรับรองข้อบัญญัตินี้ของพราหมณ์หรือไม่. ทูลตอบว่า ไม่รับรอง. จึงตรัสว่า พวกพราหมณ์บัญญัติเอาเอง เหมือนบังคับคนไม่กินเนื้อให้กินเนื้อแล้วยังเรียกร้องเอามูลค่า ( ของเนื้อ ) อีกด้วย.

หาย จากอาพาธไม่นาน. เป็นผู้น่าเลื่อมใสทุกทาง บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง คือมีศรัทธา, มีศีล, สดับฟังมาก, เป็นผู้กล่าวธรรม, ก้าวลงสู่บริษัท, กล้าหาญแสดงธรรม, ได้ฌาน ๔ ตามปรารถนา, ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะอยู่ในปัจจุบัน. ตรัสแสดงสัปปุริสทาน ( ทานของคนดี ) ๘ ประการ คือให้สิ่งสะอาด, ให้สิ่ง ประณีต, ให้ตามกาล, ให้สิ่งที่ควร, เลือกแล้วจึงให้, ให้เนือง ๆ, ขณะให้จิตเลื่อมใส, ให้แล้วก็อิ่มใจ. ตรัสแนะให้กำจัดภิกษุผู้ถูกโจทท้วงเพราะอาบัติ กลับพูดถลากไถลแสดง ความโกรธเคือง เพื่อมิให้ประทุษร้ายภิกษุที่ดี ๆ.

จึงตรัสอธิบายถึงคุณสมบัติ ๕ ข้อ คือ ๑. ศรัทธา ๒. มีโรคน้อย ๓.

ถ้าไฟลุกโพลงอยู่เบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรือไม่. ทูลตอบว่า รู้. ไฟลุกโพลงขึ้นเพราะอาศัยอะไร. ทูลตอบว่า เพราะอาศัยเชื้อหญ้าและไม้ ๓. ถ้าไฟดับเบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรือไม่. ไฟไปทางทิศไหน ทูลตอบว่า ไม่มีคำตอบ เพราะไฟนั้นลุกโพลงขึ้นเพราะอาศัยเชื้อ เพราะหมดเชื้อและไม่เติมเชื้ออื่นอีก ก็ไม่มี “ อาหาร ” นับได้ว่า “ ดับแล้ว ”.

ไปโดยทางตรง คืออริยมรรค มีองค์ ๘ มีความเห็นชอบ เป็นต้น. ปรารภความเพียร. ( ความละเอียดเหมือนมหาสัจจกสูตร ดูที่พระสุตตันตะเล่ม ๔ หน้า ๔ (หัวข้อ ๓๖ . มหาสัจจกสูตร) ข้อที่ ๘ ถึงข้อ ๑๑ แล้วตรัสเล่าถึงการแสดงธรรมแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ ( ภิกษุ ๕ รูป จนกระทั้งภิกษุเหล่านั้นได้ทำให้แจ้งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ( เป็นพระอรหันต์ ).

เมื่อเห็นอย่างนั้น ก็ไม่สดุ้งดิ้นรนในเมื่อสิ่งนั้นไม่มี. ตรัสถามที่สำคัญต่อไปว่า เพราะฉะนั้น พึงเข้าใจความหมายแห่งภาษิตของเราแล้วทรงจำไว้ ถ้าไม่เข้าใจ ก็พึงไต่ถามเราหรือภิกษุผู้ฉลาด เราแสดงธรรมมีออุปมาด้วยเเพ เพื่อให้ถอนตัว ( นิตถรณะ ) ไม่ใช่เพื่อให้ยึดถือ ( คหณะ ) เหรียบเหมือนคนข้ามฝั่งน้ำด้วยอาศัยเเพ เมื่อถึงฝั่งแล้วไม่จำเป็นต้องแบกแพไปด้วย . เมื่อรู้ธรรมะที่เราแสดงเปรียบด้วยเเพ ก็พึงละแม้ธรรมะ จะกล่าวไยถึงอธรรมว่าจะไม่ต้องละ. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายถึงความนึกคิดที่เกิดขึ้นในสมัยที่ทรงเป็นพระโพธิสัตว์ ยังมิได้ตรัสรู้ ทรงแบ่งความคิดนึก ( วิตกความตรึก ) ออกเป็น ๒ ส่วน คือฝ่ายชั่ว ได้แก่คิดนึกในกาม , คิดนึกปองร้าย , คิดนึกเบียดเบียน ; ฝ่ายดี ได้แก่คิดนึกออกจากกาม , คิดนึกไม่ปองร้าย , คิดนึกไม่เบียดเบียน .

ตรัสเปรียบข้อแรกด้วยกระโหลกน้ำเต้าขมที่ระคนยาพิษ ดื่มแล้วทำให้ตายหรือปางตาย ; ข้อที่ ๒ ด้วยขันน้ำดื่มทำด้วยสำริด มีสีกลิ่นดี แต่ระคนยาพิษ ดื่มแล้วทำให้ตายหรือปางตาย ; ข้อที่ ๓ ด้วยน้ำมูตรเน่าผสมด้วยยาต่าง ๆ คนเป็นโรคผมเหลืองดื่มแล้วทำให้เป็นสุขได้ ; ข้อที่ ๔ ด้วยนมส้ม น้ำผึ้ง เนยใส น้ำอ้อย ระคนเข้าด้วยกัน คนเป็นโรคลงโลหิตดื่มแล้วเป็นสุขได้. ผู้ที่ออกบวชจากสกุลกษัตริย์ , พราหมณ์ , แพศย์ , ศูทร ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ( ความหลุดพ้นเพราะสมาธิ) ปัญญาวิมุติ ( ความหลุดพ้นเพราะปัญญา ) อันไม่มีอาสวะอยู่ในปัจจุบัน ตรัสว่า เป็นสมณะเพราะสิ้นอาสวะ. ผู้อบรมกาย อบรมจิต คืออริยสาวก ( สาวกของพระอริยเจ้า ) ผู้ได้สดับ ที่ตรงกันข้ามกับบุถุชนผู้มิได้สดับ สุขเวทนา ทุกขเวทนา ไม่ครอบงำจิตของผู้นั้นได้. ตรัสย้อนถามว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านกล่าวว่า ขันธ์ ๕ เป็นตนของท่านใช่ไหม.

มาณพที่มาด้วย จึงอื้ออึง ประณามว่า อัมพัฏฐมาณพเป็นลูกทาสี มีชาติไม่ดี พระสมณโคดมพูดเป็นธรรม เราหลงรุกรานว่าพูดไม่ถูก. พวกเขาก็อึ้งไป แต่ก็อ้อมแอ้มกันนิด ๆ หน่อย ๆ ว่า แหม ลูกพี่ ทางใจพวกผมยอมรับว่าได้กันอย่างเต็มปรี่ แต่ถ้าได้ทางโลกมาจุนเจือพอให้บรรเทาความเดือดร้อน ไม่ถึงกับขอให้มีมากจนถือได้ว่าสะสมเกินไปก็น่าจะดีกว่านะครับ ซึ่งผมก็เห็นด้วยเต็มร้อย แต่ก็ได้แต่อ้อม ๆ แอ้ม ๆ ตอบไปไม่เต็มเสียงว่า อืม…… เมื่อจบพระธรรมเทสนา ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ( เป็นพระอรหันต์).

เณรคาถา เป็นภาษิตทางธรรม มีคติเตือนใจของพระเถระต่าง ๆ รวม ๒๖๔ รูป. เถรีคาถา เป็นภาษิตทางธรรม มีคติเตือนใจของพระเถรี ( นางภิกษุณีผู้เป็นเถรี ) รวม ๗๓ รูป. ถึงเหตุปัจจัยที่อริยสาวกผู้ได้สดับไม่เกิดความสงสัยในเรื่องที่ พระผู้มีพระภาคไม่ตรัสพยากรณ์ โดยทรงชี้ไปว่า ข้อที่ว่าสัตว์ตายแล้วเกิด หรือ ไม่เกิด หรือเกิดด้วย ไม่เกิดด้วยหรือเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ นั้นเป็นทิฏฐิ ( ความเห็น ), เป็นตัณหา ( ความทะยานอยาก ), เป็นสัญญา ( ความกำหนดหมาย ). เป็นมัญญิตะ ( ความสำคัญในใจ ), เป็นปปัญจิตะ ( ความเนิ่นช้า ), เป็นอุปาทาน ( ความยึดมั่น ) และเป็นวิปปฏิสาร ( ความเดือดร้อน ) ซึ่งบุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมไม่รู้สิ่ง ( ทั้งเจ็ด ) นั้น, ไม่รู้ความเกิด, ความดับ, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของสิ่งเหล่านั้น แต่ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมรู้ จึงไม่เกิดความสงสัยในเรื่องที่พระองค์ไม่ทรงพยากรณ์. พระธัมมิกะ เป็นภิกษุเจ้าถิ่นใน ๗ วัด ในชาติภูมิ เป็นคนปากร้าย ด่าว่า ภิกษุอาคันตุกะ จนหนีไปหมด. ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง เป็นสมณะละเอียดอ่อน คือ ๑.

พระสาริบุตรกับพระอานนท์สนทนาธรรมกัน พระสาริบุตรสรรเสริญพระอานนท์ ( รวม ๖ ข้อ คือ ) ๑. เรียนธรรมะ ๒. แสดงธรรมตามที่ฟังแล้วเรียนแล้วแก่ผู้อื่น ๓. บอกธรรมตามที่ฟังแล้วเรียน แล้วแก่ผู้อื่น ๔. ตรึกตรองเพ่งด้วยใจซึ่งธรรมะนั้น ๕. จำพรรษาอยู่ในอาสวะที่มีพระเถระผู้สดับตรับฟังมาก ๖.

ครั้นแล้วตรัสแสดงถึงสมณพราหมณ์บางพวกที่เห็นว่า ทุกสิ่งควรแก่ตนบ้าง ทุกสิ่งไม่ควรแก่ตนบ้าง เห็นว่า บางอย่างควร บางอย่างไม่ควรบ้าง. ฝ่ายที่เห็นว่า ทุกสิ่งควรแก่ตน ใกล้ไปทางยินดี ยึดมั่นยึดถือ. ฝ่ายที่เห็นว่า ทุกสิ่งไม่ควรแก่ตน.

ทายาทพระนางมัสสุหรีแต่งงาน

และตรัสสอนให้ปฏิบัติต่อศาสดาฉันมิตร มิใช่ศรัตรู คือให้ตั้งใจฟังธรรม ก็จะเป็นไปเพื่อประโยชน์ความสุขสิ้นกาลนาน. ในที่สุดตรัสว่า พระองค์ทรงว่าทั้งในทางข่ม ทั้งในทางประคอง ( ไม่ใช่มุ่งแต่ลงโทษหรือมุ่งแต่ยกย่องเพียงอย่างเดียว ). ผู้ใดมีสาระก็จะดำรงอยู่ได้. พระอานนท์กราบทูลถามว่า มรรคา, ปฎิปทา เพื่อละสัญโญชน์เหล่านั้นก็อย่างเดียวกันเหตุไฉนภิกษุบางรูปจึงเป็นผู้หลุดเพราะสมาธิ ( เจโตวิมุติ) บางรูปหลุดพ้นเพราะปัญญา ( ปัญญาวิมุติ ). ตรัสตอบว่า เพราะอินทรีย์ต่างกัน .

พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภเกิดขึ้น ก็ไม่มัวเมาประมาท ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม ๗. ไม่พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภไม่เกิด ขึ้น ก็ไม่เสียใจ ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม ๘. ไม่พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภเกิดขึ้น ก็ไม่มัวเมาประมาท ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม. ตรัสสอนนางวิสาขาและวาสฏฐอุบาสกและโพชฌาอุบาสิกาถึงเรื่องผลของอุโบสถใน ทำนองเดียวกัน. ตรัสแสดงทรัพย์ ๗ อย่าง คือความเชื่อ, ศีล, ความละอาย, ความเกรงกลัวต่อ บาป, การสดับตรับฟัง, การสละ, ปัญญา. ในหมวดนี้ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกจัดเป็นหมวด ๕๐ ส่วนที่ ๒ จัดเป็นหมวดนอก ๕๐ ทั้งหมดด้วยกันมีประมาณ ๘๐ สูตรเศษ.

การออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ ตั้งอยู่ในศีล ๓ ประเภท บำเพ็ญสมาธิจนได้ฌาน ๔ บำเพ็ญปัญญาจนได้วิชชา ๘ ( ดั่งกล่าวไว้แล้วในสามัญญผลสูตร). คุณสมบัติพราหมณ์ปุโรหิตอีก ๔ คือ ๑. มีชาติดี ๒. ท่องจำมนต์ได้ ๓. มีศีล ๔.

เมื่อเป็นเรื่องเปล่า จึงมิไช่เรื่องจะบอกเลิกใคร. ธรรม ๗ ประการ คือ ความเห็นชอบ , ความดำริชอบ , การเจรจาชอบ , การกระทำชอบ , การเลี้ยงชีพชอบ , ความเพียรชอบ , การตั้งสติชอบ เป็นบริขารของสมาธิ เป็นไปเพื่อเจริญสมาธิ ทำสมาธิให้บริบูรณ์ . ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง อันแวดล้อมด้วยองค์ ๗ เหล่านี้ ชื่อว่าอนิยสมาธิ อันเรียกว่า มีอุปนิสัย ( บริวาร ) บ้าง มีบริขาร (เครื่องประกอบ ) บ้าง.

ศพอยู่ร่วมศพ ได้แก่สามีและภริยาทุศีล มีธรรมอันเลวด้วยกัน ๒. ศพอยู่ร่วมกับเทพี ได้แก่สามีทุศีล แต่ภริยามีศีลธรรม ๓. เทพอยู่ร่วมกับศพ ได้แก่สามี มีศีลธรรม แต่ภริยาทุศีล ๔. เทพอยู่ร่วมกับเทพี ได้แก่สามีภริยามีศีลธรรมด้วยกัน.

เห็นอย่างอสัตบุรุษ ๗. ให้อย่างอสัตบุรุษ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียด ส่วนสัตบุรุษ ทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม. คติของอสัตบุรุษคือนรกหรือกำเนิดดิรัจฉาน ส่วนคติของสัตบุรุษ คือความเป็นใหญ่ในเทพหรือความเป็นใหญ่ในมนุษย์. พระอุเทนะถามว่า มีบริษัท ๒ ประเภท คือพวกหนึ่งกำหนัดยินดีในทรัพย์สินสิ่งต่าง ๆ อีกพวกหนึ่งไม่กำหนัดยินดี ออกบวช ในบริษัท ๒ ประเภทนี้ พราหมณ์เห็นว่าคนที่ไม่เบียดเบียนตน ทั้งไม่เบียดเบียนคนอื่น มีอยู่มากบริษัทประเภทไหน. พราหมณ์ตอบว่า มีมากในประเภทที่ไม่กำหนัดยินดีในทรัพย์สิ้นสิ่งต่าง ๆ.

ทรงแสดงว่า สมณะที่ ๑ ได้แก่พระโสดาบัน, สมณะที่ ๒ ได้แก่พระ สกทาคามี, สมณะที่ ๓ ได้แก่พระอนาคามี, สมณะที่ ๔ ได้แก่พระอรหันต์ มีเฉพาะในพระธรรมวินัยนี้เท่านั้น. ทรงแสดงว่า ไม่มีใคร ๆ เป็นประกันได้ ถึงสิ่งที่มีความแก่, ความเจ็บ, ความตายเป็นธรรมดา มิให้แก่, เจ็บ, ตายได้ กับไม่มีใครเป็นประกันได้ ถึงผลของกรรมชั่ว มิให้เกิดขึ้นได้. พระสาริบุตรตอบพระมหาโมคคัลลานะ ว่า ท่านอาศัย การปฏิบัติสะดวก และรู้ได้เร็ว มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ. (มี ๕ วรรคเช่นเคย วรรคที่ ๑ ชื่ออินทริยวรรค ว่าด้วยธรรมอันเป็นใหญ่, วรรคที่ ๒ ชื่อปฏิปทาวรรค ว่าด้วยข้อปฏิบัติ, วรรคที่ ๓ ชื่อ สัญเจตนิยวรรค ว่าด้วยความจงใจ, วรรคที่ ๔ ชื่อ โยธาชีววรรค ว่าด้วยนักรบ, วรรคที่ ๕ ชื่อมหาวรรค ว่าด้วยเรื่องใหญ่). ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือผู้ได้ฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๔ แล้วพิจารณาขันธ์ ๕ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ จนถึงไม่ใช่ตัวตน เมื่อสิ้นชีวิต ย่อมเกิดในเทพชั้นสุทธาวาส อันไม่ทั่วไปแก่บุถุชน. อีกนัยหนึ่ง พิจารณาได้เร็วในกุศลธรรม, ทรงจำธรรมะ ที่สดับแล้วได้ดี, พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมะที่ทรงจำไว้แล้ว, ปฏิบัติเพื่อรู้อรรถรู้ธรรม นี้เป็นฝ่ายประโยชน์ตน ส่วนประโยชน์ผู้อื่น คือชักชวนแนะนำเพื่อเป็นเช่นนั้น.

ทำอาสวะให้สิ้น ทำให้แจ้งความหลุดพ้นเพราะสมาธิ ( เจโตวิมุติ) และความหลุดพ้นเพราะปัญญา ( ปัญญาวิมุติ ) ? พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เดินทางอยู่ระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาฬันทา มีปริพพาชก ( นักบวชนอกศาสนา) ชื่อสุปปิยะ พร้อมด้วยศิษย์ชื่อพรหมทัตมาณพ เดินทางมาข้างหลัง. สุปปิยะ ปริพพาชก ติเตียนพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แต่ศิษย์กล่าวสรรเสริญ .

ไม่ลำเอียงเพราะหลง ๙. ไม่ลำเอียงเพราะกลัว. ต่อจากนั้นได้เสด็จไปยังเวฬวคาม ( หมู่บ้านไม้มะตูม ) และตรัสอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์จำพรรษารอบเมืองเวสาลีได้ตามอัธยาศัย . ในระหว่างพรรษาทรงประชวร แต่ทรงเห็นว่า ยังไม่ได้ลาอุปฐาก ( ผู้รับใช้ ) ยังไม่ได้ลาภิกษุสงฆ์ ยังไม่สมควรปรินิพพาน จึงทรงขับไล่อาพาธด้วยความเพียร อธิษฐานชีวิตสังขาร ( ตั้งพระหฤทัยให้ดำรงชีวิตอยู่ ). เมื่อหายประชวรแล้ว พระอานนท์เข้าเฝ้ากราบทูลความกังวลใจที่เห็นทรงประชวร ตรัสตอบว่า พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมไม่มีภายใน ไม่มีภายนอก ไม่มีกำมือของอาจารย์ในธรรมทั้งหลาย ( ไม่ปิดบังธรรมะ ) ไม่ได้ทรงยึดถือว่าบริหารภิกษุสงฆ์ และมิได้ทรงยึดถือว่าภิกษุสงฆ์เป็นผู้เล่าเรียนจากพระองค์. ทรงเปรียบพระองค์ซึ่งแก่เฒ่าล่วงวัย มีพระชนมายุถึง ๘๐ ปีว่า เหมือนเกวียนเก่าที่ซ่อมด้วยไม้ไผ่ ตรัสเตือนให้พึ่งตน พึ่งธรรมะ และตรัสสอนสติปัฏฐาน ๔.

ท้าวสักกะปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอมัทรี ( พระชายา ) เราก็ให้ไปอีก ( แต่ในที่สุดก็ได้กลับอยูร่วมกันทั้งหมดทุกพระองค์ ). ธาตุภาชนียกถา แสดงว่าเมื่อพระผู้มีพระภาคปรินิพพานแล้วได้มีการแจกพระธาตุไปไว้ในที่ต่าง ๆ คือ ๑. ในนครของพระเจ้าอชาตศัตรุ ( ราชคฤห์ ) ๒.

คือทรงแนะนำเรื่องฉันอาหารมื้อเดียว ๒ . ไม่ต้องสั่งสอนเพียงแต่แนะนำให้เกิดสติ เปรียบเหมือนสารถีขึ้นสู่รถที่เทียมไว้ดีแล้ว ให้รถแล่นไปแล่นกลับได้ตามปรารถนา ( ไม่ต้องเฆี่ยนตีม้า ). ครั้นแล้วตรัสสอนให้ละอกุศล ทำความเพียรในกุศลธรรมก็จะเจริญงอกงามในพระธรรมวินัยนี้ เปรียบเหมือนคนปรารถนาดี ถางป่าไม้สาละ ที่เต็มไปด้วยละหุ่ง ( อันเป็นภัยต่อไม้สาละ ) ตัดต้นสาละหนุ่มที่คดออก บะรุงด้วยดีซึ่งต้นสาละหนุ่มที่ตรง ที่เกิดดีแล้ว ป่านั้นก็จะเจริญงอกงาม. ทรงแสดงภิกษุผู้ประกอบด้วยอิทธิบาท คือคุณธรรมที่ให้ถึงความสำเร็จ ๔ ประการ คือ ๑. พอใจ ๒.

พระไตรปิฎก ทีฆนิกายนี้มี ๓ เล่ม เล่มละวรรค ตามชื่อที่กล่าวมาแล้ว รวมทั้งสิ้นมี ๓๔ สูตร. ทีปังกรพุทธวงศ์ ( ที่ ๑ ) วงศ์แห่งพระทีปังกรณ์พุทธเจ้า เล่าเรื่องเมื่อครั้งพระโคดมพุทธเจ้าเป็นสุเมธดาบส ช่วยชาวบ้านทำทางให้พระทีปังกรพุทธเจ้าเสด็จผ่าน มีที่เหลืออยู่อีกหน่อยยังทำทางไม่เสร็จด้วยศรัทธา สุเมธดาบสจึงลงนอนทับโคลนให้พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสาวกเสด็จและเดินเหยียบข้ามไปแล้วได้รับพยากรณ์ว่า จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่า โคดม. ต่อจากนั้นแสดงรายละเอียดเฉพาะพระทีปังกรพุทธเจ้า.

หรือถ้าเกิดเป็นมนุษย์ ก็เกิดในตระกูลสูงมั่งคั่ง รูปงาม มีลาภ. ท่านพระภูมิชะกลับมากราบทูลพระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า ที่ตอบไปนั้นไม่ผิด และได้ทรงชี้แจงเพิ่มเติม เปรียบสมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด จนถึงมีความตั้งใจมั่นผิด ประพฤติพรหมจรรย์ จึงไม่ควรบรรลุผล ว่าเหมือนคนต้องการน้ำมัน แต่ไปคั้นน้ำมันจากทราย หรือต้องการนมโค แต่รีดนมจากเขาโค ต้องการไฟ แต่เอาไม้สดชุ่มด้วยยางมาสีไฟติด. ครั้นแล้วทรงแสดงการปฏิบัติถูกในทางที่ตรงกันข้าม.

ตรัสต่อไปว่า ภิกษุผู้สำรวมในอายตนะ ๖ ( มี ตา, หู เป็นต้น ) รู้ว่ากิเลสเป็นรากของความทุกข์ เป็นผู้ไม่มีกิเลส หลุดพ้นเพราะสิ้นกิเลสแล้ว ก็มิใช่ฐานะที่จะนำกายเข้าไปเกลือกกลั้วในสิ่งที่ตั้งแห่งกิเลสและคิดในทาง ที่เป็นกิเลส เปรียบเหมือนคนรู้ผู้รักชีวิตย่อมไม่ดื่มยาพิษ ไม่ยื่นมือ หรือหัวแม่มือ หัวแม่เท้า เข้าหางูพิษ. ท่านพระอุเทนะอยู่ในป่ามะม่วงชื่อเขมิยะ ใกล้กรุงพาราณสี. โฆฏมุขพราหมณ์มีธุระไปสู่กรุงสาวัตถี ไปพบพระอุเทนะที่ป่ามะม่วงนั้น จึงสนทนาด้วย โดยแสดงความคิดเห็นว่า การบวชที่เป็นธรรมไม่มี. พระอุเทนะจึงเข้าไปสู่วิหาร และพราหมณ์ก็ตามเข้าไปสนทนากันในวิหาร พราหมณ์ได้พูดย้ำความคิดเห็นเดิมอีก. พระอุเทนะตกลงกับพราหมณ์ว่า ถ้ายอมรับในข้อที่ควรยอมรับ ถ้าคัดค้านในข้อที่ควรคัดค้านก็จะสนทนากันได้ พราหมณ์ยอมรับข้อเสนอนั้น.