ผู้นั้นตั้งอยู่ในฌานแต่ละข้อนั้นย่อมถึงความสิ้นอาสวะได้ ถ้าละอาสวะไม่ได้ ก็จะได้เป็นพระอนาคามี. ตรัสสอนพระราหุลในระหว่างที่ท่านตามเสด็จไปบิณฑบาตในเวลาเช้าว่า พึงพิจารณาเห็นรูปทุกชนิด ทั้งอดีต อนาคต ปัจจุบัน, ภายใน ภายนอก, หยาบละเอียด, เลว ดี, ไกล ใกล้ ว่ารูปทั้งหมดนั้น มิใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตัวตนของเรา. พระราหุลกลับจากที่นั้น นั่งคู้บัลลงก์ ( ขัดสมาธิ ) ณ โคนไม้ตันหนึ่ง ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า พระสารีบุตรเห็นเข้าจึงสอนให้เจริญอานาปาปานสติ ( สติกำหนดลมมหายใจเข้าออก). ในเวลาเย็นพระราหุลออกจากที่เร้น เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามถึงวิธีเจริญอานาปานสติที่จะมีผลมาก มีอานิสงส์มาก.
ธรรมะจึงเป็นสิ่งประเสริฐสุดในหมู่ชนทั้งในปัจจุบันและอนาคต. ต่อมามีผู้เกียจคร้านที่จะนำข้าวสาลีตอนเช้าเพื่ออาหารเช้า นำมาตอนเย็นเพื่ออาหารเย็น จึงนำมาครั้งเดียวให้พอทั้งเช้าทั้งเย็น. ต่อมาก็นำมาครั้งเดียวให้พอสำหรับ ๒ วัน ๔ วัน ๘ วัน มีการสะสมอาหาร จึงเกิดมีเปลือกห่อห่มข้าวสาร ที่ถอนแล้วก็ไม่งอกขึ้นแทน ปรากฏความพร่อง ( เป็นตอน ๆ ที่ถูกถอนไป ).
สัจจนิครนถ์พูดในที่ประชุมชนกรุงเวสาลีว่า ไม่เห็นใครแม้ที่จะปฏิญญาตนว่าเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง ที่ตนโต้ตอบด้วยแล้วจะไม่หวั่นไหว ไม่มีเหงื่อไหลออกมาจากรักแร้ อย่าว่าแต่มนุษย์เลย แม้ตนจะโต้ตอบกับต้นเสา ต้นเสาก็ยังหวั่นไหว. ตรัสถามถึงความอยู่เป็นผาสุก ก็กราบทูลว่า ต่างอยู่กันอย่างตั้งเมตตาทางกาย วาจา ใจ ต่อกัน พยายามไม่ทำอะไรตามใจตน แต่รู้จักทำตามใจผู้อื่น แม้จะมีกายต่างกัน แต่มีจิตเสมือนเป็นอันเดียวกัน. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชวตนาราม ทรงแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย ถึงเรื่องที่ว่า ถ้าภิกษุยังละกิเลสที่เปรียบเหมือนตอของจิต ( เจโตขีละ ) ๕ ประการ และถอนกิเลสที่เปรียบเหมือนเครื่องผูกมัดจิต ( เจตโสวินิพันธะ ) ๕ ประการไม่ได้ ก็มิใช่ฐานะที่ภิกษุนั้นจะถึงความเจริญงอกงามไพบูลในพระธรรมวินัยนี้. ตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายลองนย้อนถามดูว่า อะไรคือความพอใจ ( อัสสาทะ ) , โทษ ( อาทีนวะ ), การพ้นไป ( นิสสรณะ= แล่นออก ) ของกาม , รูป และเวทนา ซึ่งนักบวชลัทธิอื่นจะตอบไม่ได้ และมีความอึดอัดยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะมิใช่ปัญหาในวิสัย . ทรงยืนยันว่า ไม่มีใครตอบปัญหานี้ได้เป็นที่พอใจ เว้นไว้แต่ตถาคต สาวกของตถาคต หรือผู้ฟังจากศาสนานี้.
ถามว่า การเกิดในภพอีกต่อไปจะไม่มีได้อย่างไร ตอบว่า ไม่มีได้เพราะคลายอวิชชา ( ความไม่รู้ ) เพราะเกิดวิชชา ( ความรู้ ) เพราะดับตัญหาเสียได้. จึงเสด็จไปสู่ตำบนอุรุเวลาเสนานิคม ทรงทำความเพียรจนได้ค้นพบพระนิพพาน และเห็นธรรมะนี่ลุ่มลึก จึงคิดจะไม่ทรงแสดงธรรม ต่อท้าวสหัมบดีพรหมมาอาราธนา จึงทรงตกลงพระหฤทัยจะแสดงธรรม. ทรงแสดงถึงผู้ปฏิบัติได้ผลในพระธรรมวินัยที่ตรัสไว้ดีแล้ว ตั้งแต่พระอรหันต์ลงมาถึงชั้นต่ำสุด คือผู้มีความศรัทธา มีความรักในพระองค์. เมื่อไม่ระลึก ไม่ใส่ใจความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ความคิดฝ่ายชั่วยังเกิดขึ้น ก็พึงใส่ใจถึงที่ตั้งแห่งเหตุของความคิด ( วิตักกสังขารสัณฐานะ คือให้ดูอะไรเป็นเหตุให้ความคิดฝ่ายชั่วเกิดขึ้น ) ก็จะละความคิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นสมาธิได้ . เปรียบเหมือนคนเดินเร็ว เดินช้าลง หยุด ยืน นั่ง นอน สละอิริยาบถหยาบ ๆ ลง สำเร็จอิริยาบถละเอียดขึ้น. ทรงแสดงการประพฤติพรหมจรรย์มีองค์ ๔ ของพระองค์ คือ ๑.
” พ่อค้าเกวียนทั้งหลาย ไม่เกียจคร้าน ขุด ( หาน้ำอยู่ ) ในทางทราย ก็ได้พบน้ำในเนินทราย ( ในทะเลทราย ) นั้น. ท่านผู้เป็นมุนีก็เช่นกัน เป็นผู้ประกอบด้วยกำลังคือความเพียร ไม่เกียจคร้าน พึงประสบความสงบแห่งหทัยได้.” ตรัสแสดงว่า ผู้ที่ติดอยู่ในความเห็น หรือสัจจะเฉพาะอย่าง ย่อมโต้เถียงกันว่า ความบริสุทธิ์มีเฉพาะในลัทธิของตน แล้วตรัสแสดงโทษของความติดในทิฏฐิ. มีคำสรุปว่า ในธรรมบทมีคาถา คำฉันท์ ) ๔๒๓ บท ( บางเรื่องและบางหัวข้อ อาจประกอบด้วยคำฉันท์หลายบท เพราะฉะนั้น ที่กล่าวว่าประมาณ ๓๐๐ หัวข้อ จึงหมายเฉพาะเนื้อเรื่อง ). อตุละเอย !
แพศย์, ศูทร ควรบำเรอแพศย์ . ศูทรเท่านั้นควรบำเรอศูทร ( สูงกว่าบำเรอพวกต่ำกว่าไม่ได้) ในข้อนี้พระสมณโคดมตรัสว่าอย่างไร. ตรัสถามว่า ทั่วโลกยอมรับรองข้อบัญญัตินี้ของพราหมณ์หรือไม่. ทูลตอบว่า ไม่รับรอง. จึงตรัสว่า พวกพราหมณ์บัญญัติเอาเอง เหมือนบังคับคนไม่กินเนื้อให้กินเนื้อแล้วยังเรียกร้องเอามูลค่า ( ของเนื้อ ) อีกด้วย.
หาย จากอาพาธไม่นาน. เป็นผู้น่าเลื่อมใสทุกทาง บริบูรณ์ด้วยอาการทั้งปวง คือมีศรัทธา, มีศีล, สดับฟังมาก, เป็นผู้กล่าวธรรม, ก้าวลงสู่บริษัท, กล้าหาญแสดงธรรม, ได้ฌาน ๔ ตามปรารถนา, ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันไม่มีอาสวะอยู่ในปัจจุบัน. ตรัสแสดงสัปปุริสทาน ( ทานของคนดี ) ๘ ประการ คือให้สิ่งสะอาด, ให้สิ่ง ประณีต, ให้ตามกาล, ให้สิ่งที่ควร, เลือกแล้วจึงให้, ให้เนือง ๆ, ขณะให้จิตเลื่อมใส, ให้แล้วก็อิ่มใจ. ตรัสแนะให้กำจัดภิกษุผู้ถูกโจทท้วงเพราะอาบัติ กลับพูดถลากไถลแสดง ความโกรธเคือง เพื่อมิให้ประทุษร้ายภิกษุที่ดี ๆ.
จึงตรัสอธิบายถึงคุณสมบัติ ๕ ข้อ คือ ๑. ศรัทธา ๒. มีโรคน้อย ๓.
ถ้าไฟลุกโพลงอยู่เบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรือไม่. ทูลตอบว่า รู้. ไฟลุกโพลงขึ้นเพราะอาศัยอะไร. ทูลตอบว่า เพราะอาศัยเชื้อหญ้าและไม้ ๓. ถ้าไฟดับเบื้องหน้าท่าน ท่านรู้หรือไม่. ไฟไปทางทิศไหน ทูลตอบว่า ไม่มีคำตอบ เพราะไฟนั้นลุกโพลงขึ้นเพราะอาศัยเชื้อ เพราะหมดเชื้อและไม่เติมเชื้ออื่นอีก ก็ไม่มี “ อาหาร ” นับได้ว่า “ ดับแล้ว ”.
ไปโดยทางตรง คืออริยมรรค มีองค์ ๘ มีความเห็นชอบ เป็นต้น. ปรารภความเพียร. ( ความละเอียดเหมือนมหาสัจจกสูตร ดูที่พระสุตตันตะเล่ม ๔ หน้า ๔ (หัวข้อ ๓๖ . มหาสัจจกสูตร) ข้อที่ ๘ ถึงข้อ ๑๑ แล้วตรัสเล่าถึงการแสดงธรรมแก่ภิกษุปัญจวัคคีย์ ( ภิกษุ ๕ รูป จนกระทั้งภิกษุเหล่านั้นได้ทำให้แจ้งที่สุดแห่งพรหมจรรย์ ( เป็นพระอรหันต์ ).
เมื่อเห็นอย่างนั้น ก็ไม่สดุ้งดิ้นรนในเมื่อสิ่งนั้นไม่มี. ตรัสถามที่สำคัญต่อไปว่า เพราะฉะนั้น พึงเข้าใจความหมายแห่งภาษิตของเราแล้วทรงจำไว้ ถ้าไม่เข้าใจ ก็พึงไต่ถามเราหรือภิกษุผู้ฉลาด เราแสดงธรรมมีออุปมาด้วยเเพ เพื่อให้ถอนตัว ( นิตถรณะ ) ไม่ใช่เพื่อให้ยึดถือ ( คหณะ ) เหรียบเหมือนคนข้ามฝั่งน้ำด้วยอาศัยเเพ เมื่อถึงฝั่งแล้วไม่จำเป็นต้องแบกแพไปด้วย . เมื่อรู้ธรรมะที่เราแสดงเปรียบด้วยเเพ ก็พึงละแม้ธรรมะ จะกล่าวไยถึงอธรรมว่าจะไม่ต้องละ. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนภิกษุทั้งหลายถึงความนึกคิดที่เกิดขึ้นในสมัยที่ทรงเป็นพระโพธิสัตว์ ยังมิได้ตรัสรู้ ทรงแบ่งความคิดนึก ( วิตกความตรึก ) ออกเป็น ๒ ส่วน คือฝ่ายชั่ว ได้แก่คิดนึกในกาม , คิดนึกปองร้าย , คิดนึกเบียดเบียน ; ฝ่ายดี ได้แก่คิดนึกออกจากกาม , คิดนึกไม่ปองร้าย , คิดนึกไม่เบียดเบียน .
ตรัสเปรียบข้อแรกด้วยกระโหลกน้ำเต้าขมที่ระคนยาพิษ ดื่มแล้วทำให้ตายหรือปางตาย ; ข้อที่ ๒ ด้วยขันน้ำดื่มทำด้วยสำริด มีสีกลิ่นดี แต่ระคนยาพิษ ดื่มแล้วทำให้ตายหรือปางตาย ; ข้อที่ ๓ ด้วยน้ำมูตรเน่าผสมด้วยยาต่าง ๆ คนเป็นโรคผมเหลืองดื่มแล้วทำให้เป็นสุขได้ ; ข้อที่ ๔ ด้วยนมส้ม น้ำผึ้ง เนยใส น้ำอ้อย ระคนเข้าด้วยกัน คนเป็นโรคลงโลหิตดื่มแล้วเป็นสุขได้. ผู้ที่ออกบวชจากสกุลกษัตริย์ , พราหมณ์ , แพศย์ , ศูทร ทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ( ความหลุดพ้นเพราะสมาธิ) ปัญญาวิมุติ ( ความหลุดพ้นเพราะปัญญา ) อันไม่มีอาสวะอยู่ในปัจจุบัน ตรัสว่า เป็นสมณะเพราะสิ้นอาสวะ. ผู้อบรมกาย อบรมจิต คืออริยสาวก ( สาวกของพระอริยเจ้า ) ผู้ได้สดับ ที่ตรงกันข้ามกับบุถุชนผู้มิได้สดับ สุขเวทนา ทุกขเวทนา ไม่ครอบงำจิตของผู้นั้นได้. ตรัสย้อนถามว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านกล่าวว่า ขันธ์ ๕ เป็นตนของท่านใช่ไหม.
มาณพที่มาด้วย จึงอื้ออึง ประณามว่า อัมพัฏฐมาณพเป็นลูกทาสี มีชาติไม่ดี พระสมณโคดมพูดเป็นธรรม เราหลงรุกรานว่าพูดไม่ถูก. พวกเขาก็อึ้งไป แต่ก็อ้อมแอ้มกันนิด ๆ หน่อย ๆ ว่า แหม ลูกพี่ ทางใจพวกผมยอมรับว่าได้กันอย่างเต็มปรี่ แต่ถ้าได้ทางโลกมาจุนเจือพอให้บรรเทาความเดือดร้อน ไม่ถึงกับขอให้มีมากจนถือได้ว่าสะสมเกินไปก็น่าจะดีกว่านะครับ ซึ่งผมก็เห็นด้วยเต็มร้อย แต่ก็ได้แต่อ้อม ๆ แอ้ม ๆ ตอบไปไม่เต็มเสียงว่า อืม…… เมื่อจบพระธรรมเทสนา ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ( เป็นพระอรหันต์).
เณรคาถา เป็นภาษิตทางธรรม มีคติเตือนใจของพระเถระต่าง ๆ รวม ๒๖๔ รูป. เถรีคาถา เป็นภาษิตทางธรรม มีคติเตือนใจของพระเถรี ( นางภิกษุณีผู้เป็นเถรี ) รวม ๗๓ รูป. ถึงเหตุปัจจัยที่อริยสาวกผู้ได้สดับไม่เกิดความสงสัยในเรื่องที่ พระผู้มีพระภาคไม่ตรัสพยากรณ์ โดยทรงชี้ไปว่า ข้อที่ว่าสัตว์ตายแล้วเกิด หรือ ไม่เกิด หรือเกิดด้วย ไม่เกิดด้วยหรือเกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ นั้นเป็นทิฏฐิ ( ความเห็น ), เป็นตัณหา ( ความทะยานอยาก ), เป็นสัญญา ( ความกำหนดหมาย ). เป็นมัญญิตะ ( ความสำคัญในใจ ), เป็นปปัญจิตะ ( ความเนิ่นช้า ), เป็นอุปาทาน ( ความยึดมั่น ) และเป็นวิปปฏิสาร ( ความเดือดร้อน ) ซึ่งบุถุชนผู้มิได้สดับ ย่อมไม่รู้สิ่ง ( ทั้งเจ็ด ) นั้น, ไม่รู้ความเกิด, ความดับ, ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับของสิ่งเหล่านั้น แต่ อริยสาวกผู้ได้สดับย่อมรู้ จึงไม่เกิดความสงสัยในเรื่องที่พระองค์ไม่ทรงพยากรณ์. พระธัมมิกะ เป็นภิกษุเจ้าถิ่นใน ๗ วัด ในชาติภูมิ เป็นคนปากร้าย ด่าว่า ภิกษุอาคันตุกะ จนหนีไปหมด. ทรงแสดงว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ อย่าง เป็นสมณะละเอียดอ่อน คือ ๑.
พระสาริบุตรกับพระอานนท์สนทนาธรรมกัน พระสาริบุตรสรรเสริญพระอานนท์ ( รวม ๖ ข้อ คือ ) ๑. เรียนธรรมะ ๒. แสดงธรรมตามที่ฟังแล้วเรียนแล้วแก่ผู้อื่น ๓. บอกธรรมตามที่ฟังแล้วเรียน แล้วแก่ผู้อื่น ๔. ตรึกตรองเพ่งด้วยใจซึ่งธรรมะนั้น ๕. จำพรรษาอยู่ในอาสวะที่มีพระเถระผู้สดับตรับฟังมาก ๖.
ครั้นแล้วตรัสแสดงถึงสมณพราหมณ์บางพวกที่เห็นว่า ทุกสิ่งควรแก่ตนบ้าง ทุกสิ่งไม่ควรแก่ตนบ้าง เห็นว่า บางอย่างควร บางอย่างไม่ควรบ้าง. ฝ่ายที่เห็นว่า ทุกสิ่งควรแก่ตน ใกล้ไปทางยินดี ยึดมั่นยึดถือ. ฝ่ายที่เห็นว่า ทุกสิ่งไม่ควรแก่ตน.
และตรัสสอนให้ปฏิบัติต่อศาสดาฉันมิตร มิใช่ศรัตรู คือให้ตั้งใจฟังธรรม ก็จะเป็นไปเพื่อประโยชน์ความสุขสิ้นกาลนาน. ในที่สุดตรัสว่า พระองค์ทรงว่าทั้งในทางข่ม ทั้งในทางประคอง ( ไม่ใช่มุ่งแต่ลงโทษหรือมุ่งแต่ยกย่องเพียงอย่างเดียว ). ผู้ใดมีสาระก็จะดำรงอยู่ได้. พระอานนท์กราบทูลถามว่า มรรคา, ปฎิปทา เพื่อละสัญโญชน์เหล่านั้นก็อย่างเดียวกันเหตุไฉนภิกษุบางรูปจึงเป็นผู้หลุดเพราะสมาธิ ( เจโตวิมุติ) บางรูปหลุดพ้นเพราะปัญญา ( ปัญญาวิมุติ ). ตรัสตอบว่า เพราะอินทรีย์ต่างกัน .
พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภเกิดขึ้น ก็ไม่มัวเมาประมาท ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม ๗. ไม่พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภไม่เกิด ขึ้น ก็ไม่เสียใจ ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม ๘. ไม่พยายามเพื่อได้ลาภ เมื่อลาภเกิดขึ้น ก็ไม่มัวเมาประมาท ไม่เคลื่อนจากพระสัทธรรม. ตรัสสอนนางวิสาขาและวาสฏฐอุบาสกและโพชฌาอุบาสิกาถึงเรื่องผลของอุโบสถใน ทำนองเดียวกัน. ตรัสแสดงทรัพย์ ๗ อย่าง คือความเชื่อ, ศีล, ความละอาย, ความเกรงกลัวต่อ บาป, การสดับตรับฟัง, การสละ, ปัญญา. ในหมวดนี้ แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนแรกจัดเป็นหมวด ๕๐ ส่วนที่ ๒ จัดเป็นหมวดนอก ๕๐ ทั้งหมดด้วยกันมีประมาณ ๘๐ สูตรเศษ.
การออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ ตั้งอยู่ในศีล ๓ ประเภท บำเพ็ญสมาธิจนได้ฌาน ๔ บำเพ็ญปัญญาจนได้วิชชา ๘ ( ดั่งกล่าวไว้แล้วในสามัญญผลสูตร). คุณสมบัติพราหมณ์ปุโรหิตอีก ๔ คือ ๑. มีชาติดี ๒. ท่องจำมนต์ได้ ๓. มีศีล ๔.
เมื่อเป็นเรื่องเปล่า จึงมิไช่เรื่องจะบอกเลิกใคร. ธรรม ๗ ประการ คือ ความเห็นชอบ , ความดำริชอบ , การเจรจาชอบ , การกระทำชอบ , การเลี้ยงชีพชอบ , ความเพียรชอบ , การตั้งสติชอบ เป็นบริขารของสมาธิ เป็นไปเพื่อเจริญสมาธิ ทำสมาธิให้บริบูรณ์ . ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง อันแวดล้อมด้วยองค์ ๗ เหล่านี้ ชื่อว่าอนิยสมาธิ อันเรียกว่า มีอุปนิสัย ( บริวาร ) บ้าง มีบริขาร (เครื่องประกอบ ) บ้าง.
ศพอยู่ร่วมศพ ได้แก่สามีและภริยาทุศีล มีธรรมอันเลวด้วยกัน ๒. ศพอยู่ร่วมกับเทพี ได้แก่สามีทุศีล แต่ภริยามีศีลธรรม ๓. เทพอยู่ร่วมกับศพ ได้แก่สามี มีศีลธรรม แต่ภริยาทุศีล ๔. เทพอยู่ร่วมกับเทพี ได้แก่สามีภริยามีศีลธรรมด้วยกัน.
เห็นอย่างอสัตบุรุษ ๗. ให้อย่างอสัตบุรุษ พร้อมทั้งแสดงรายละเอียด ส่วนสัตบุรุษ ทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม. คติของอสัตบุรุษคือนรกหรือกำเนิดดิรัจฉาน ส่วนคติของสัตบุรุษ คือความเป็นใหญ่ในเทพหรือความเป็นใหญ่ในมนุษย์. พระอุเทนะถามว่า มีบริษัท ๒ ประเภท คือพวกหนึ่งกำหนัดยินดีในทรัพย์สินสิ่งต่าง ๆ อีกพวกหนึ่งไม่กำหนัดยินดี ออกบวช ในบริษัท ๒ ประเภทนี้ พราหมณ์เห็นว่าคนที่ไม่เบียดเบียนตน ทั้งไม่เบียดเบียนคนอื่น มีอยู่มากบริษัทประเภทไหน. พราหมณ์ตอบว่า มีมากในประเภทที่ไม่กำหนัดยินดีในทรัพย์สิ้นสิ่งต่าง ๆ.
ทรงแสดงว่า สมณะที่ ๑ ได้แก่พระโสดาบัน, สมณะที่ ๒ ได้แก่พระ สกทาคามี, สมณะที่ ๓ ได้แก่พระอนาคามี, สมณะที่ ๔ ได้แก่พระอรหันต์ มีเฉพาะในพระธรรมวินัยนี้เท่านั้น. ทรงแสดงว่า ไม่มีใคร ๆ เป็นประกันได้ ถึงสิ่งที่มีความแก่, ความเจ็บ, ความตายเป็นธรรมดา มิให้แก่, เจ็บ, ตายได้ กับไม่มีใครเป็นประกันได้ ถึงผลของกรรมชั่ว มิให้เกิดขึ้นได้. พระสาริบุตรตอบพระมหาโมคคัลลานะ ว่า ท่านอาศัย การปฏิบัติสะดวก และรู้ได้เร็ว มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ. (มี ๕ วรรคเช่นเคย วรรคที่ ๑ ชื่ออินทริยวรรค ว่าด้วยธรรมอันเป็นใหญ่, วรรคที่ ๒ ชื่อปฏิปทาวรรค ว่าด้วยข้อปฏิบัติ, วรรคที่ ๓ ชื่อ สัญเจตนิยวรรค ว่าด้วยความจงใจ, วรรคที่ ๔ ชื่อ โยธาชีววรรค ว่าด้วยนักรบ, วรรคที่ ๕ ชื่อมหาวรรค ว่าด้วยเรื่องใหญ่). ทรงแสดงบุคคล ๔ ประเภท คือผู้ได้ฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๔ แล้วพิจารณาขันธ์ ๕ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ จนถึงไม่ใช่ตัวตน เมื่อสิ้นชีวิต ย่อมเกิดในเทพชั้นสุทธาวาส อันไม่ทั่วไปแก่บุถุชน. อีกนัยหนึ่ง พิจารณาได้เร็วในกุศลธรรม, ทรงจำธรรมะ ที่สดับแล้วได้ดี, พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมะที่ทรงจำไว้แล้ว, ปฏิบัติเพื่อรู้อรรถรู้ธรรม นี้เป็นฝ่ายประโยชน์ตน ส่วนประโยชน์ผู้อื่น คือชักชวนแนะนำเพื่อเป็นเช่นนั้น.
ทำอาสวะให้สิ้น ทำให้แจ้งความหลุดพ้นเพราะสมาธิ ( เจโตวิมุติ) และความหลุดพ้นเพราะปัญญา ( ปัญญาวิมุติ ) ? พระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ เดินทางอยู่ระหว่างกรุงราชคฤห์กับเมืองนาฬันทา มีปริพพาชก ( นักบวชนอกศาสนา) ชื่อสุปปิยะ พร้อมด้วยศิษย์ชื่อพรหมทัตมาณพ เดินทางมาข้างหลัง. สุปปิยะ ปริพพาชก ติเตียนพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แต่ศิษย์กล่าวสรรเสริญ .
ไม่ลำเอียงเพราะหลง ๙. ไม่ลำเอียงเพราะกลัว. ต่อจากนั้นได้เสด็จไปยังเวฬวคาม ( หมู่บ้านไม้มะตูม ) และตรัสอนุญาตให้ภิกษุสงฆ์จำพรรษารอบเมืองเวสาลีได้ตามอัธยาศัย . ในระหว่างพรรษาทรงประชวร แต่ทรงเห็นว่า ยังไม่ได้ลาอุปฐาก ( ผู้รับใช้ ) ยังไม่ได้ลาภิกษุสงฆ์ ยังไม่สมควรปรินิพพาน จึงทรงขับไล่อาพาธด้วยความเพียร อธิษฐานชีวิตสังขาร ( ตั้งพระหฤทัยให้ดำรงชีวิตอยู่ ). เมื่อหายประชวรแล้ว พระอานนท์เข้าเฝ้ากราบทูลความกังวลใจที่เห็นทรงประชวร ตรัสตอบว่า พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมไม่มีภายใน ไม่มีภายนอก ไม่มีกำมือของอาจารย์ในธรรมทั้งหลาย ( ไม่ปิดบังธรรมะ ) ไม่ได้ทรงยึดถือว่าบริหารภิกษุสงฆ์ และมิได้ทรงยึดถือว่าภิกษุสงฆ์เป็นผู้เล่าเรียนจากพระองค์. ทรงเปรียบพระองค์ซึ่งแก่เฒ่าล่วงวัย มีพระชนมายุถึง ๘๐ ปีว่า เหมือนเกวียนเก่าที่ซ่อมด้วยไม้ไผ่ ตรัสเตือนให้พึ่งตน พึ่งธรรมะ และตรัสสอนสติปัฏฐาน ๔.
ท้าวสักกะปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอมัทรี ( พระชายา ) เราก็ให้ไปอีก ( แต่ในที่สุดก็ได้กลับอยูร่วมกันทั้งหมดทุกพระองค์ ). ธาตุภาชนียกถา แสดงว่าเมื่อพระผู้มีพระภาคปรินิพพานแล้วได้มีการแจกพระธาตุไปไว้ในที่ต่าง ๆ คือ ๑. ในนครของพระเจ้าอชาตศัตรุ ( ราชคฤห์ ) ๒.
คือทรงแนะนำเรื่องฉันอาหารมื้อเดียว ๒ . ไม่ต้องสั่งสอนเพียงแต่แนะนำให้เกิดสติ เปรียบเหมือนสารถีขึ้นสู่รถที่เทียมไว้ดีแล้ว ให้รถแล่นไปแล่นกลับได้ตามปรารถนา ( ไม่ต้องเฆี่ยนตีม้า ). ครั้นแล้วตรัสสอนให้ละอกุศล ทำความเพียรในกุศลธรรมก็จะเจริญงอกงามในพระธรรมวินัยนี้ เปรียบเหมือนคนปรารถนาดี ถางป่าไม้สาละ ที่เต็มไปด้วยละหุ่ง ( อันเป็นภัยต่อไม้สาละ ) ตัดต้นสาละหนุ่มที่คดออก บะรุงด้วยดีซึ่งต้นสาละหนุ่มที่ตรง ที่เกิดดีแล้ว ป่านั้นก็จะเจริญงอกงาม. ทรงแสดงภิกษุผู้ประกอบด้วยอิทธิบาท คือคุณธรรมที่ให้ถึงความสำเร็จ ๔ ประการ คือ ๑. พอใจ ๒.
พระไตรปิฎก ทีฆนิกายนี้มี ๓ เล่ม เล่มละวรรค ตามชื่อที่กล่าวมาแล้ว รวมทั้งสิ้นมี ๓๔ สูตร. ทีปังกรพุทธวงศ์ ( ที่ ๑ ) วงศ์แห่งพระทีปังกรณ์พุทธเจ้า เล่าเรื่องเมื่อครั้งพระโคดมพุทธเจ้าเป็นสุเมธดาบส ช่วยชาวบ้านทำทางให้พระทีปังกรพุทธเจ้าเสด็จผ่าน มีที่เหลืออยู่อีกหน่อยยังทำทางไม่เสร็จด้วยศรัทธา สุเมธดาบสจึงลงนอนทับโคลนให้พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสาวกเสด็จและเดินเหยียบข้ามไปแล้วได้รับพยากรณ์ว่า จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่า โคดม. ต่อจากนั้นแสดงรายละเอียดเฉพาะพระทีปังกรพุทธเจ้า.
หรือถ้าเกิดเป็นมนุษย์ ก็เกิดในตระกูลสูงมั่งคั่ง รูปงาม มีลาภ. ท่านพระภูมิชะกลับมากราบทูลพระผู้มีพระภาค ตรัสตอบว่า ที่ตอบไปนั้นไม่ผิด และได้ทรงชี้แจงเพิ่มเติม เปรียบสมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด จนถึงมีความตั้งใจมั่นผิด ประพฤติพรหมจรรย์ จึงไม่ควรบรรลุผล ว่าเหมือนคนต้องการน้ำมัน แต่ไปคั้นน้ำมันจากทราย หรือต้องการนมโค แต่รีดนมจากเขาโค ต้องการไฟ แต่เอาไม้สดชุ่มด้วยยางมาสีไฟติด. ครั้นแล้วทรงแสดงการปฏิบัติถูกในทางที่ตรงกันข้าม.
ตรัสต่อไปว่า ภิกษุผู้สำรวมในอายตนะ ๖ ( มี ตา, หู เป็นต้น ) รู้ว่ากิเลสเป็นรากของความทุกข์ เป็นผู้ไม่มีกิเลส หลุดพ้นเพราะสิ้นกิเลสแล้ว ก็มิใช่ฐานะที่จะนำกายเข้าไปเกลือกกลั้วในสิ่งที่ตั้งแห่งกิเลสและคิดในทาง ที่เป็นกิเลส เปรียบเหมือนคนรู้ผู้รักชีวิตย่อมไม่ดื่มยาพิษ ไม่ยื่นมือ หรือหัวแม่มือ หัวแม่เท้า เข้าหางูพิษ. ท่านพระอุเทนะอยู่ในป่ามะม่วงชื่อเขมิยะ ใกล้กรุงพาราณสี. โฆฏมุขพราหมณ์มีธุระไปสู่กรุงสาวัตถี ไปพบพระอุเทนะที่ป่ามะม่วงนั้น จึงสนทนาด้วย โดยแสดงความคิดเห็นว่า การบวชที่เป็นธรรมไม่มี. พระอุเทนะจึงเข้าไปสู่วิหาร และพราหมณ์ก็ตามเข้าไปสนทนากันในวิหาร พราหมณ์ได้พูดย้ำความคิดเห็นเดิมอีก. พระอุเทนะตกลงกับพราหมณ์ว่า ถ้ายอมรับในข้อที่ควรยอมรับ ถ้าคัดค้านในข้อที่ควรคัดค้านก็จะสนทนากันได้ พราหมณ์ยอมรับข้อเสนอนั้น.